วันอาทิตย์ที่ 23 มกราคม พ.ศ. 2554

จดหมายถึง ดร.ศิโรตม์ คล้ามไพบูลย์ กรณีบทความอิสลามเเละประชาธิปไตย‏

 
ด้วยพระนามของอัลลอฮ์ผู้ทรงเมตตา ผู้ทรงกรุณาปราณี
                                                                                                        กลุ่มอัซซาบิกูน www.อิสลาม.net  
                                                                                                           Baitulansar.info/antirafidah.com


6 มกราคม 2554



เรียน อ.ศิโรตม์ คล้ามไพบูลย์
    
     ก่อนอื่นผมต้องเรียนว่าในฐานะนักศึกษาสังคมศาสตร์ผมมีความชื่นชมต่อบทบาทของอาจารย์เสมอมาทั้งบทบาททางวิชาการผ่านผลงานวิชาการทั้งงานเขยี นและงานแปลมากมายและบทบาทในการเคล่อืนไหวทางการเมืองโดยเฉพาะอย่างยิ่งบทบาทการเคล่อืนไหวเพ่อื ความยุติธรรมในสังคมในเหตุการณ์ตลอดป 2553 ที่ผ่านมา
    
     ผมในฐานะมุสลิมขอขอบคุณอาจารย์ในความพยายามนำเสนอมุมมองใหม่ที่มีต่อศาสนาอิสลามใน
บทความ อิสลามและประชาธิปไตย ซึ่งเป็นมุมมองที่เป็นแง่บวกต่อศาสนาอิสลามซึ่งเห็นว่าเป็นงานกระแสรองในวงการสังคมศาสตร์ปัจจุบัน อย่างไรก็ตามผมเห็นว่าในงานชิ้นดังกล่าวของอาจารย์มีความเข้าใจผิดหลายประการซึ่งผมจะชี้แจง ดังต่อไปนี้

1. ประเด็นในการบรรยายของ Anthony Giddens แห่ง London School of Economics ผมขอ
ชี้แจงว่าในมุมมองของอิสลามศาสนาแยกออกต่างหากจากวัฒนธรรมแง่มุมต่างๆทางศาสนาต้อง
ไมม่ กี ารพลวัตรเปล่ยีนแปลงจากหลกั คำสอนของอัลลอฮผา่ นท่านศาสดามฮุ ัมมดั (ขอความสนั ติมี
แด่ท่าน) เนื่องด้วยมุสลิมมีความเชื่อในวันพิพากษาว่าการปฏิบัติศาสนกิจต่างๆจะถูกยอมรับก็
ต่อเม่อื ปฏิบัติ ปฏิบัติตามแนวทางซึ่งศาสดามฮุ ัมมดั (ขอความสนั ติมแี ดท่ ่าน) ได้สอนเอาไว้เท่านั่น
ดังนั้นประเด็นที่เป็นประเด็นหลักการศาสนาจึงต้องไม่มีการพลวัตรใดๆ

2. ประเด็นซึ่งมีความเขา้ ใจว่าอิสลามขึ้น อยู่กับการตีความ ด้วยเหตุดังกล่าวจึงทำให้อิสลามมีความ
หลากหลาย ประเด็นนี้ถือเป็นประเด็นซึ่งเป็นความเข้าใจผิดพลาดอย่างมากในวงการสังคมศาสตร์
ซึ่งศึกษาอิสลาม จนถือได้ว่าเป็นมายาคติของวงการสังคมศาสตร์อิสลามเลยก็ว่าได้ ประเด็นนี้
ผ้เูขยี นขอชี้แจงว่าศาสนาอิสลามอนุญาตให้ตีความเฉพาะในประเด็นที่มีหลักฐานตัวบทซึ่งต่าง
สนับสนุนทั้งสองแนวคิด(ภาษาเทคนิคเรียกว่า กรณีคิลาฟียะฮ ตัวอย่างกรณีนี้ได้แก่การปิดหน้า
ของสุภาพสตรีกล่าวคืออนุญาตให้ปิดหรือไม่ปิดก็ได้) ซึ่งในกรณีดังกล่าวเป็นกรณีปลีกย่อยและพบ
ได้น้อยมาก เพราะส่วนใหญ่ในสุภาพสตรีบทบัญญัติของศาสนาอิสลามเป็นบทบัญญัติตรงๆซึ่งไม่
มีความจำเป็นต้องตีความเช่น การคลุมฮิญาบ การห้ามดอกเบี้ย เป็นต้น ส่วนหากจะมีนักวิชาการ
มุสลิมคนใดที่ตีความประเด็นเหล่านี้นอกเหนือออกไปไม่สามารถยอมรับได้ เช่นการตีความว่า
บทบัญญัติฮิญาบไม่ได้ถูกกำหนดแก่ประชาชาติอิสลาม การตีความว่าชาวคริสเตียน ชาวยิวก็ถือ
ว่าเป็นผู้ศรัทธาในอัลลอฮเช่นกัน (โปรดดูรายละเอียดในเอกสารประบันทึกการสัมมนาวิชาการ
โลกของอิสลามและมุสลิมในอุษาคเนย์ ในหัวข้อ Islamization ดร.ชาญวิทย์ เกษตรศิริ เป็น
บรรณาธิการ ) การตีความเช่นนั่นย่อมถือว่าไม่สามารถยอมรับได้ ดังนั้นหากจะกล่าวในแง่ของ
หลักการศาสนาที่เป็นหลักการจากตัวบทจริงๆจะพบว่าอิสลามแทบไม่มีความหลากหลายอยู่เลย
ที่เป็นมายาคติอยู่ในทุกวันนี้เป็นเพราะการตีความของนักวิชาการนอกนอกต่างๆ

3. ประเด็นความเห็นของ Ernest Gellner ทีว่าอิสลามแบบการกลับไปหารากฐานเดิมของหลักการ
อิสลามซึ่ง Ernest Gellner ใช้คำว่า Islamic Fundamentalism (ผมจะไม่ขออภิปรายถึงการใช้คำ
ว่า Islamic Fundamentalism เพราะส่วนตัวเห็นว่าการกลับไปหาหลักการอิสลามที่มาจาก
หลักฐาน/มลู ฐานเป็นสิ่งที่ดีซึ่งไมส่ าํ คัญว่าจะใช้คำว่าอะไร ) เป็นปรากฏการซึ่งเพ่งิเกิดข้นึ ในช่วง
หลังจากการรุกรานของชาติตะวันตกในคริสตศตวรรษที่ 18-20 เป็นต้นมา เป็นการให้ข้อมูล
ผดิ พลาดเพราะผ้ศู ึกษาประวัติศาสตรอ์ิสลามอย่างละเอียดจะพบขอ้เท็จจรงิ ที่เหมือนกันว่าบรรดา
ผ้เูรยี กร้องการกลบั ไปส่รูากฐาก(ซึ่งเรยี กวา่ กลับไปหาความเขา้ ใจและการปฏิบัตของชาวสลฟั ฟศุ
ซอและฮ) มมี าทุกยุคทุกสมัยหลังจากสิ้นสมัยชาวชาวสลฟั ฟศุซอและฮ(์ประมาณ 300 ปีหลังจาก
ส้นิ สมัยของศาสดามฮุ ัมมดั (ขอความสนั ติมแี ด่ท่าน)) อย่างไรก็ตามผมเขา้ ใจว่าการที่ Ernest
Gellner มคี วามเห็นเช่นนั้นอาจเป็นเพราะการเคล่อืนไหวดังกล่าวมคี วามชัดเจนมากในแง่ของการ
สามารถสรา้งรฐั ศาสนาข้นึ มาได้ เนื่องด้วยความรว่มมอืระหว่างตระกูลซาอูดกับผ้รู้ศู าสนาและใน
ที่สุดก็สามารถสร้างประเทศซาอุดีอารเบียในปี 1932 นั่นเอง

4. ประเด็นต่อมาของ Ernest Gellner ในเรื่อง ผ้นำศาสนาในแบบ living saints นี้เป็นความเข้า้ใจ
ผิดอีกประการหนึ่งเพราะอิสลามไม่มีระบบดังกล่าว ศาสนพิธีจะเป็นไปโดยตรงระหว่างมุสลิมกระ
เพ่อื แสดงความภักดีต่ออัลลอฮโดยตรงไมม่ ผี ้นู ำจิตวิญญาณ สว่ นผู้นำพธิ กี รรมเช่น อิมามนำ
ละหมาดเป็นเพียงผู้นำพิธีเท่านั่นไม่ใช่กรณี living saints

5. ประเด็นระบบการเมืองอิสลามซึ่งเรียกว่าระบบคิลาฟะโดยมีคอลีฟะฮเป็นผู้ปกครองนั้น ก่อนอื่นผม
ต้องเรียนก่อนว่าระบบการเมืองอิสลามตามที่นบีเคยสถาปนาขึ้น ณ นครมะดีนะฮ ์ถือเป็นโมเดล
ของรฐั คิลาฟะและไมม่ พี ้นื ที่ให้ระบบประชาธปิ ไตยและระบบการเมอื งอื่นใดทั้งส้นิ ดังนั้นอิสลามจึง
ไม่ใช่ประชาธิปไตยที่ทุกคนมีสิทธ์ในการเลือกองค์อธิปัตย์ อย่างแน่นอน ดังนั้นจึงมิพักต้องกล่าวถึง
การเคล่อืนไหวภาคประชาสงัคม การเคล่อืนไหว NSM ในแงที่ตรงขา้มกับรฐั คิลาฟะฮเพราะการ
กระทำดังกล่าวถือเป็นการก่อความเสียหายบนหน้าแผ่นดินถือเป็นกบถต่อรัฐ


     อย่างไรก็ตามอาจารย์และหากใครก็ตามซึ่งอ่านประเด็นของผมข้างต้นอาจคิดว่าการเมือง
อิสลามเป็นการเมืองแห่งการเผด็จการ การมองเช่นนั่นเป็นการใช้มาตรฐานของตนเองแล้วไป
พพิ ากษาผ้อู ื่นเพราะชาวมสุ ลมิ ไมไ่ด้เชื่อเช่นนั่น เรามองว่านั่นเป็นระบบการเมอื งซึ่งอัลลอฮ์กำหนด
ว่าให้และเราเชื่ออย่างบริสุทธิ์ใจและปราศจากข้อสงสัยใดๆว่าคิลาฟะฮคือการปกครองที่ดีที่สุด
อย่างแน่นอน

6. ประเด็นความเห็นของ Fred Halliday ซึ่งอ้างว่ารัฐอิสลามในโลกสมัยใหม่มีความขัดแย้งกันเอง
ผมขอชี้แจงว่า รัฐซึ่ง Fred Halliday ได้อ้างไม่ใช่รัฐอิสลามแต่เป็นรัฐที่มีประชากรมุสลิมเป็น
ส่วนมากเพราะรัฐคิลาฟะไม่ใช่รัฐที่เป็น Nation state แต่เป็น Ummah State นอกจากนี้ตาม
หลักการอิสลามแล้วรัฐอิสลามและคอลีฟะฮจะไม่สามารถมีมากกว่าหนึ่งได้ในเวลาเดียวกันเพราะ
นี้คือคำส่งัจากท่านนบีว่าหากมีการต้งัคอลฟี ะฮซ้อนคอลฟี ะฮ์ให้ประหารคนที่สอง ดังนั้นตาม
หลักการแล้วจึงไม่สามารถมีรัฐอิสลามมากกว่าหนึ่งในเวลาเดียวกันได้

7. ประเด็นที่ Qamaruddin Khan ระบุว่าอัลกรุอานไม่ได้ระบุระบบการเมืองอิสลามใดๆไว้โดยตรงๆ
ดังนั้นจึงสามารถปกครองด้วยระบบใดก็ได้โดยสามารถให้มุสลิมดำรงอยู่ได้นั้น ประเด็นนี้ผมเห็น
ว่าเป็นการมองอิสลามแบบเอาเฉพาะอัลกรุอาน (มีพฤกติกรรมแบบพวกไม่เอาแบบอย่างนบี
เรียกว่าพวก กรุอานนียูน)เพราะแม้ว่าอัลกรุอานจะกำหนดหลักการปกครองอย่างกว้างๆก็จริงอยู่
เช่นการกำหนดกฎหมายอิสลามและบทลงโทษแต่มุสลิมนอกจากจะต้องปฏิบัติตามอัลกรุอานแล้ว
ยังต้องปฏิบัติตามแบบอย่างของท่านนบีเพราะเพราะแบบอย่างเหล่านั้นถือรูปแบบการอธิบายอัล
กรุอานอย่างเป็นรูปธรรมท่สีดุ เหตุผลที่ต้องดูแบบอย่างของท่านนบีเพราะว่าอัลกรอุ านบอก
เพียงแต่หลักการกว้างๆไม่ได้บรรจุไว้ซึ่งรายละเอียด(เปรียบเสมือนรัฐธรรมนูญและแบบอย่าง
ท่านนบีคือกฏหมายประกอบรฐั ธรรมนูญต่างๆ) ซึ่งไมใ่ช่แค่เร่อื งการปกครองเท่านั่นเร่อื งอื่นๆเช่น
การละหมาด การจ่ายซะกาต การแสวงบุญที่นครมักกะฮ์ ก็ถูกระบุไว้อย่างกว้างๆเช่นกัน โดย
รายละเอียดของการปฏิบัติต้องดำเนินการผ่านแบบอย่างของท่านนบีซึ่งรวมทั้งรูปแบบของรัฐด้วย
เช่นกัน
จากข้อเขียนในจดหมายทั้งหมดผมมจีุดประสงคเ์พียงเพื่อ ชี้แจงให้ทราบว่าระบบการเมืองที่
อิสลามรับรองว่าเป็นระบบอิสลามตามแนวทางท่านนบีมีเพียงระบบเดียวเท่านั่นคือระบบคิลาฟะฮ์
ซึ่งท่านนบีและสหายผู้ทรงคุณธรรมของท่านทั้งสี่ได้แก่ ท่านอบูบักร ท่านอุมรั ท่านอุษมาน ท่านอะ
ลี ได้ปฏิบัติมาแล้วในอดีต


ด้วยมิตรภาพ
ซาเล็ม อับดุลลอฮ
กลุ่มอัซซาบิกูน

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น